Hypertension Update
Genetically Predicted Blood Pressure and Risk of Atrial Fibrillation. 2194 View(s)
Genetically Predicted Blood Pressure and Risk of Atrial Fibrillation.

โดย Hyman, Matthew C และคณะ

วารสารวิชาการ Hypertension: Volume 77(2), February 2021, p 376-382.

บทคัดย่อ
การศึกษาเชิงสังเกต (Observational studies) แสดงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่าง ความดันโลหิตสูง และภาวะ atrial fibrillation (AF). การจัดการความดันโลหิตแบบเข้มงวดในผู้ป่วยที่มี AF สามารถช่วยลดภาวะหัวใจเต้นผิดปกติโดยรวมได้

แต่ก็ยังไม่ชัดเจนว่าความดันโลหิตสูง เป็นสาเหตุของ AF หรือไม่ . เพื่อตอบคำถามนี้ การศึกษานี้ได้สำรวจความสัมพันธ์ระหว่างตัวทำนายทางพันธุกรรมของความดันโลหิต และความเสี่ยงของการเกิด AF.

อันดับที่สอง ผู้วิจัย ได้สำรวจความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ยาลดความดันโลหิตแบบพร็อกซี (genetically proxied use) กับความเสี่ยงของการเกิด AF.

การสุ่มแบบ Mendelian สองตัวอย่างดำเนินการโดยใช้ inverse-variance weighted meta-analysis with weighted median Mendelian randomization และการทดสอบ Egger intercept tests performed as sensitivity analyses.

สถิติสรุปสำหรับ ความดันโลหิตซิสโตลิก (systolic blood pressure, SBP), ความดันโลหิตไดแอสโตลิก (diastolic blood pressure, DBP) และความดัน pulse pressure ได้มาจาก International Consortium of Blood Pressure และ UK Biobank discovery analysis และสำหรับ AF จากการศึกษา the 2018 Atrial Fibrillation Genetics Consortium multiethnic genome-wide association studies.

พบว่า การเพิ่มขึ้นของ genetically proxied SBP, DBP, หรือ pulse pressure 10 มิลลิเมตรปรอท พบว่ามีความสัมพันธ์ต่อการเพิ่มขึ้นของ odds ของ AF
(SBP: odds ratio [OR], 1.17 [95% CI, 1.11-1.22]; P=1x10 -11)
; DBP : OR, 1.25 [95% CI, 1.16-1.35]; P=3x10-8
; pulse pressure: OR, 1.1 [95% CI, 1.0-1.2]; P=0.05).

การลดลงของ SBP ที่ 10 มิลลิเมตรปรอท โดย genetic proxies of antihypertensive medications พบว่า ยากลุ่ม calcium channel blockers (OR, 0.66 [95% CI, 0.57-0.76]; P=8x10-9) และยากลุ่ม [beta]-blockers (OR, 0.61 [95% CI, 0.46-0.81]; P=6x10-4) ลดความเสี่ยงการเกิด AF.

ตัวแปรทางพันธุกรรมที่เพิ่มความดันโลหิต มีความสัมพันธ์กับความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นของ AF ซึ่งสอดคล้องกับความสัมพันธ์เชิงสาเหตุระหว่างความดันโลหิตและ AF.

ข้อมูลเหล่านี้สนับสนุนแนวคิดที่ว่าการลดความดันโลหิตด้วยการปิดกั้น ช่องแคลเซียม หรือบล็อก [เบต้า] สามารถลดความเสี่ยงของ AF ได้.

(credit picture: https://www.mayoclinic.org/)